วันเสาร์ที่ 11 ธันวาคม 2564เวลา 13.00 -16.00 น. สถานที่ : กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ชุมชนแหลมสนอ่อนชุมชนแหลมสนอ่อนได้มีการจัดกิจกรรมระดับชุมชน คือ1.ตัวแทนโซนที่ 1 - 5 จำนวน 12 คนมาทำการทบทวนข้อมูลจำนวนหลังคาเรือนในแผนที่ทำมือซี่งได้จัดทำไว้ตั้งแต่เดือนมกราคม 2564 ว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไรผลที่ได้คือ แผนที่ทำมือของชุมชนแหลมสนอ่อน สามารถระบุรายละเอียดได้ว่า ณ ปี 2564 ชุมชนแหลมสน
วันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๔ ประชุมคณะทำงานด้านการพัฒนาข้อมูล เทคโนโลยีและสารสนเทศสุขภาพ กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพจังหวัดสงขลานำทีมโดย อ.นิคม จากคณะวิศวะมอ. โปรแกรมเมอร์จากอบจ. สสจ. มูลนิธิชุุมชนสงขลา ทีมงานกองทุนฟื้นฟูฯ มีเรื่องสำคัญๆ ที่มีผลต่อการทำงานในระยะต่อไปก็คือ๑.รายงานความก้าวหน้าในส่วนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง ที่มูลนิธิชุมชนสงขลารับผิดชอบ บริษัทที่รับช่วงดำเนินการต่อ จะต้องส่งงานให้แล้วเ
"วงกลาง SUCCESS ประจำเดือนธันวาคม 2564"วันที่ 7 ธันวาคม 2564 แกนนำ 6 เมืองโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง ในพื้นที่ภาคใต้ร่วมพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานร่วมกันรอบนี้นำประสบการณ์การเกิดน้ำท่วมในแต่ละพื้นที่มาบอกเล่าพร้อมกับชี้ประเด็นสำคัญ ที่จะใช้ข้อมูลจากสถานการณ์นำมาวิเคราะห์ระบบเมือง ทั้งในแง่ปัญหาและศักยภาพ ประเด็นสำคัญอยู่ที่การร้อยเรียงสถานการณ์ที่เกิดจากต้นน้ำไปถึง
โครงการแก้ปัญหาความเดือดร้อนชุมชนผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับผลกระทบจากโควิด สนับสนุนโดย สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ( องค์การมหาชน)กิจกรรม "ประชุมสร้างความเข้าใจภายในชุมชน"1)ชุมชนบาลาเซาะห์เก้าแสน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังฟวัดสงขลาวันอาทิตย์ที่ 5 ธันวาคม 2564 สถานที่ ลานกิจกรรมชายหาดเก้าเส้งกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คนงบประมาณจำนวน 4,000 บาท2)ชุมชนสนามบิน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงข
"จังหวะก้าว iMedCare"ในฐานะผู้พัฒนาระบบ มูลนิธิชุมชนสงขลาและดร.แสงอรุณ อิสระมาลัย คณะพยาบาลศาสตร์วันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๔ นัดหมายหารือร่วมกับคณบดี เพื่อวางจังหวะก้าวความร่วมมือในการนำ Platform iMedCare ไปขยายผล โดยมีแนวทางดังนี้๑.จดอนุสิทธิบัตร เพื่อให้สามารถสร้างหลักประกัน เป็นเจ้าของแนวคิดแนวทางการพัฒนา Platform นี้ และสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับ อุทยานวิทยาศาสตร์และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
"SUCCESS บ่อยาง"พื้นที่เมืองบ่อยาง ๑ ใน ๖ เมืองของโครงการประชาสังคมร่วมแรงเพื่อเปลี่ยนแปลงเมือง ที่สนับสนุนโดยสหภาพยุโรปวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๔ นัดประชุมคณะทำงาน ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนชุมชนคนจนเมือง และเครือข่ายมูลนิธิชุมชนสงขลาในฐานะพี่เลี้ยงถือโอกาสทบทวนแนวคิดของโครงการให้กับคณะทำงานที่เข้ามาเพิ่มเติมอีกหลายชุมชน ทั้งหมดนี้มีปัญหาร่วมในฐานะคนจนเมืองทั้งที่อยู่อาศัย ที่ดินทำกิน อาชีพ และร
"ทบทวนธรรมนูญลุ่มน้ำภูมี"พื้นที่นโยบายสาธารณะเชิงภูมินิเวศยังมีดำเนินการอยู่ไม่มากนัก ส่วนใหญ่มองในทิศทางของสิ่งแวดล้อมที่เน้นการใช้ประโยชน์ของทรัพยากรในลุ่มน้ำของหน่วยงานราชการมากกว่ามองแบบองค์รวมในวาระ ๑๐ ปีธรรมนูญลุ่มน้ำภูมี ได้นำกรอบปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพมาพิจารณาร่วมกับกรอบคิดของเครือข่ายอนุรักษ์และพัฒนาลุ่มน้ำรัตภูมี เพื่อให้มองภาพรวมได้มากขึ้น พบว่ายังสามารถเพิ่มเติมมิติสุขภาวะในด้านอื่
"ธรรมนูญสุขภาพตำบล อำเภอควนขนุน"วันที่ 29 พฤศจิกายน 2564 กขป.เขต12ร่วมกับพชอ.ควนขนุน ร่วมดำเนินการจัดทำธรรมนูญสุขภาพสู้ภัยโควิด ในพื้นที่เขต12 อีก2ตำบลได้แก่ แพรกหา และปันตาวันนี้ทีมอสม. รพ.สต ในพื้นที่ร่วมฝึกการใช้แอพiMed@home สำรวจข้อมูลผ่านระบบเยี่ยมบ้าน อสม.บอกว่าแอพฯนี้จะทำให้อสม.มีข้อมูลผู้ป่วยอยู่ในมือของตัวเอง
"SUCCESS บ่อยาง"วันที่ 27 พฤศจิกายน 2564 คณะทำงานเมืองบ่อยางนัดส่งเอกสารการเงิน และรายงานงวด 1 เลยถือโอกาสทบทวนหลักการเคลียร์ใบเสร็จ การทำ Timesheet สำหรับคณะทำงานกลาง และปรับบทบาทการทำงานเพื่อสร้างระบบทีมร่วมกันการทำงานเป็นทีมจะเป็นพัฒนาการสำคัญสำหรับเมืองที่จะก้าวเดินต่อไป โดยมีระบบการทำงานที่สามารถแสดงความโปร่งใส และตรวจสอบได้ ซึ่งสำคัญมากๆในการทำงานสาธารณะ ส่วนหนึ่งจะเป็นการพัฒนาศักยภ
"ธรรมนูญสุขภาพตำบล จ.ยะลา"วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ นัดหมาย ๔ พื้นที่ดำเนินการธรรมนูญสุขภาพตำบลในจังหวัดยะลา ประกอบด้วย ต.ท่าสาป ต.บาโงย ต.กอตอตือร๊ะ ต.หน้าถ้ำ ทีมพี่เลี้ยงจังหวัด ทำความเข้าใจการใช้แอพ iMed@home ในการจัดเก็บข้อมูลประชากร ผ่านระบบเยี่ยมบ้าน ข้อมูลเชิงประจักษ์จะนำไปสู่การกำหนดกติกา หรือธรรมนูญสุขภาพและเป็นส่วนหนึ่งของระบบรายงานผลการดำเนินงานไปในตัวเป็นกิจกรรมความร่วมมือกับกขป.เขต